อันตราย!! ไทยเสียเอกราชให้นายทุนเรียบร้อยแล้วหรือยัง
พึงระวัง ความมั่นคงของรัฐ และเอกราชของรัฐ ทรัพยากรธรรมชาติ กรรมสิทธิของประชาชน จะตกเป็นของเอกชน
ไทยจะเป็นทาส ที่ต้องส่งส่วย ให้นายทุน และชนชั้นปกครอง ไม่ใช่ทาส ต่างชาติ ประเทศใด แต่เป็นคนไทยด้วยกัน ระหว่างชนชั้นปกครอง และชนชั้นถูกปกครอง ที่ต้องส่งส่วยทางอ้อมทุกๆวัน ปัจจุบันก็ต้องส่งส่วยให้เจ้าของโรงกลั่น เจ้าของผู้ถือหุ้นปตท รายใหญ่ และ กรรมการผู้บริหาร ปตท ผ่าน เงินกองทุนน้ำมัน ราคาน้ำมัน ด้วยนโยบายที่ภาครัฐร่วมกันฉ้อฉล และกฟผ ผ่านการผูกขาด การขายก๊าซธรรมชาติที่ ปตท เจ้าเดียว ที่ขึ้นราคาเท่าไรก้ได้ ให้กับการไฟฟ้า ซึ่งโยนภาระมาให้ประชาชน
Trans ASEAN Gas Pipeline Project (TAGP)
A TAGP Masterplan has been prepared and this serves as the blue print and/or plan of action in undertaking the gas pipeline project in the region.
ลองตามไปดูเรื่องท่อก๊าซ http://www3.pttplc.com/en/about-ptt-business-operations-gas-unit-transmission-pipeline.aspxA TAGP Masterplan has been prepared and this serves as the blue print and/or plan of action in undertaking the gas pipeline project in the region.
โครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน อาเซียนได้ลงนาม Memorandum of Understanding on the Trans-ASEAN Gas Pipeline (TAGP) ปี 2545 เพื่อเป็นแนวทางในการก่อสร้างระบบเครือข่ายท่อส่งก๊าซธรรมชาติเชื่อมโยงกัน ระหว่างประเทศสมาชิก รวมถึงส่งเสริมการค้าก๊าซธรรมชาติอย่างเสรีผ่านระบบเครือข่ายท่อก๊าซระหว่าง ประเทศสมาชิก ปัจจุบันอาเซียนมีการเชื่อมโยงโครงข่ายท่อก๊าซธรรมชาติในอาเซียน 8 โครงการ รวมระยะทาง 2,300 กม. และมีแผนการที่จะก่อสร้างเพิ่มเติมอีก 7 โครงการในอนาคต โดยแหล่งก๊าซนาทูน่าตะวันออกของอินโดนีเซียจะเป็นแหล่งก๊าซหลักที่จะ สนับสนุนโครงการท่อก๊าซในอาเซียน โดยในส่วนของไทยมีอยู่ 5 โครงการhttp://www.aseancorner.com/ความร่วมมือของอาเซียน/
ดังนั้น หากคสช หลวมตัวไม่ระวัง จะมีทำให้มีการสูญเสียความมั่นคงของรัฐ และเอกราช ของคนไทยชนชั้นถูกปกครอง
เนื่องจาก
1 ทั้งแหล่งพลังงาน ขุมทรัพย์ ของไทย ใช้แบบระบบการให้สัมปทาน คือยกกรรมสิทธิในแหล่งน้ำมันและแหล่งปิโตรเลี่ยม ให้เอกชน
การรายงานให้เอกชนรายงาน ปริมาณ น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติที่ขุดได้
แต่ประเทศอื่นๆ ใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต ซึ่งให้รัฐรายงานและตรวจสอบได้ และเป็นกรรมสิทธิของรัฐ
2 ระบบท่อก๊าซ ที่จะจัดสรรให้เอกชน หากเอกชนรายอื่นทำแข่งขัน กับเจ้าของท่อก๊าซ เจ้าของท่อก๊าซ จะหยุดส่งวัตถุดิบ เพราะฉะนั้น เจ้าของท่อก๊าซ จะเป็นผู้ผูกขาดพลังงานทั้งหมดของประเทศ
ซึ่งอาจจะมีการเชื่อมโยงกับท่อก๊าซไปประเทศเพื่อนบ้าน
3 การวางระบบโครงสร้างพื้นฐาน ระบบรางคู๋ เชื่อมโยงจากแหลมฉบัง แทนที่จะเชื่อมโยงจากศูนย์กลาง จากกทม เพื่อขนส่งทั้งคน และสินค้า กลับกลายเป็นว่ารัฐลงทุน เงินภาษีประชาชนทั้งประเทศ เพื่อ ทำโครงสร้างพื้นฐานให้ลดต้นทุนเอกชน
ในการขนส่งสินค้า ซึ่งแน่นอน รวมถึงน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ฯลฯ
แถม ยังตรวจสอบปริมาณขุดเจาะไม่ได้
ดังนั้นแหล่งปิโตรเลี่ยมไทยที่ประชาชนตรวจสอบไม่ได้ ท่อก๊าซที่เอกชนเป้นเจ้าของ ระบบโครงสร้งพื้นฐานที่รัฐจะลทุนให้เอกชนขนส่สินค้า
ท่านลองพิจารณากันว่า ทั้งหมดนี้ คนไทยเสีเอกราชหรือยัง
อีกทั้ง ยังมีการนำเข้าส่งออกน้ำมันดิบของโรงกลั่น และน้ำมันสพเร็จรูปของผู้ค้าน้ำมันบางราย
ที่ไม่มีหลักฐานมาจากไหน เท่าไร
ไทยเราจะยิ่งต้องส่งส่วยเพิ่มมากขึ้นอีกเท่าใดในอนาคต
จึงจะพอใจของเจ้าของทุนสามานย์
พวกเราคนไทย ผู้รักชาติโปรดลอง ตรองดูคะ
ว่าจะทำอย่างไรที่จะรักษาอธิปไตยของคนไทย ชนชั้นถูกปกครอง
โปรดช่วยกันเผยแพร่ให้คนไทยช่วยกันปกป้องอำนาจอธิปไตยของตนเอง อย่าให้ใครมากดขี่ข่มเหง อีกต่อไป
1LikeLike · · Share
Umiko Miyaki likes this.
Kamolpan Cheewapansri นายมอน ขอบอกว่า เรื่องโครงข่ายท่อก๊าซมิใช่แค่เรื่องระดับชาติ นะขอรับท่าน
มันเป็นเรื่องโครงข่ายสัมพันธ์โยงใยกันทั่วโลก
โชคดีของไทย มีแหล่งก๊าซธรรมชาติขนาดใหญ่ (จนผบ.ทบ. ประเทศไทยมองไม่เห็น !?!)
และตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยก็เป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ เป็น "หัวใจ" ของ ASEAN และ ของโลก
โชคดีมักจะมีมาพร้อมเคราะห์ร้าย ไอ้พวกฉิบหายกลุ่มทุนสามานย์ ก็เร่งรัดสั่งการให้ลิ่วล้อบริวารเดินหน้าเต็มกำลัง - พังเป็นพัง รบเป็นรบ - กูต้องกินให้ครบทั้งท่อทั้งสัมปทาน ครบเครื่องคาวหวาน ยาวนานสิบชั่วโคตร !!!!
สาวกโจรกลุ่มหนึ่งกุมอำนาจ สาวกโจรอีกกลุ่มหนึ่งอยู่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และซูเปอร์บอร์ดรัฐวิสาหกิจ สาวกโจรอีกส่วนหนึ่งเนียนสนิทในกระทรวงพลังงาน สาวกอีกกลุ่มหนึ่งรอเก้าอี้ในรัฐบาล และ สปช !!!!
ผู้ครอบครองโครงข่ายท่อน้ำมันและก๊าซ คือผู้กุมอำนาจทางเศรษฐกิจ
เป็นเจ้าชีวิตอาณาประชาชน
ประเทศไทยต้องไม่ยอมให้ทุรชน เป็นคนควบคุมโครงข่ายท่อก๊าซ
นี่คือความมั่นคงแห่งชาติ คือฐานอำนาจของรัฐ คือสมบัติของปวงชน
เลิกปล้น เลิกขายชาติ รีบส่งมอบท่อก๊าซ ... ไอ้ชาติชั่ว !!!
นายมอน ราษฎรหนุ่ม
๑๓ สิงหา ๕๗
๐๙.๑๗ น.
Transmission and Distribution Pipeline
www.pttplc.com
บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทพลังงานแห่งชาติ ประกอบธุรกิจก๊าซธรรมชาติครบวงจร รวมถึง ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ การลงทุนในธุรกิจสำรวจและผลิตปิโตรเลียม ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ ผ่านบริษัทในกลุ่ม ปตท.
แผนงานเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซของอาเซียน (Trans-ASEAN Gas Pipeline)
เป้าหมายของแผนงาน เพื่อสนับสนุนงานเชื่อมโยงระบบก๊าซธรรมชาติของภูมิภาค โดยนำเสนอในรูปโครงการ Trans-ASEAN Gas Pipeline (TAGP) ซึ่งมีการจัดตั้งคณะกรรมการของ TAGP ขึ้นอย่างเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่กำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับ และกรอบแผนงาน รวมทั้ง ทำการศึกษาเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการ
กลยุทธและแนวทางการปฏิบัติ
กลยุทธที่ 1 จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจเกี่ยวกับโครงการ TAGP ขึ้นในปี 2542 โดยประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆซึ่งอยู่ภายใต้คณะกรรมการของ ASCOPE
กลยุทธที่ 2 จัดทำนิยามและพัฒนากฎระเบียบ ข้อบังคับ และร่างกรอบแผนงาน เกี่ยวกับการค้าก๊าซธรรมชาติของอาเซียน ซึ่งจะดำเนินการแล้วเสร็จภายในปี 2542 รวมทั้งจัดให้มีการประชุมเกี่ยวกับรายละเอียด กฎระเบียบ และกรอบการดำเนินงานของTAGP ในปี 2543/2544
กลยุทธที่ 3 เมื่อโครงการ TAGP เกิดขึ้นควรพัฒนาข้อเสนอโครงการ (Proposal) ในช่วงปี2543/2544 ตลอดจนพัฒนาแนวทางความร่วมมือระหว่าง ผู้ดำเนินการ ผู้บริหารและผู้ออกกฎหมาย เพื่อกำจัดอุปสรรคต่างๆ ที่เป็นปัญหา และควรสนับสนุนการให้ความรู้ด้านเทคนิค วิธี ทั้งในแง่การสำรวจแหล่งก๊าซธรรมชาติ และการประมาณความต้องการใช้ และการผลิตก๊าซเป็นรายสาขาทั้งระดับประเทศ และระดับภาค
กลยุทธที่ 4 สร้างสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ และ เกิดเงินทุนหมุนเวียน โดยมี
คณะกรรมการเป็นผู้กำกับดูแล และปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงในการลงทุนของผู้ลงทุนขนาดเล็ก
จัดการประชุมเจรจาระหว่างผู้ออกกฎระเบียบ ผู้ดำเนินโครงการ และภาคธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซ ในเรื่องราคาขาย และอัตราภาษี เป็นต้น http://www.eppo.go.th/vrs/VRS43-01-IIP.html
เป้าหมายของแผนงาน เพื่อสนับสนุนงานเชื่อมโยงระบบก๊าซธรรมชาติของภูมิภาค โดยนำเสนอในรูปโครงการ Trans-ASEAN Gas Pipeline (TAGP) ซึ่งมีการจัดตั้งคณะกรรมการของ TAGP ขึ้นอย่างเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่กำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับ และกรอบแผนงาน รวมทั้ง ทำการศึกษาเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการ
กลยุทธและแนวทางการปฏิบัติ
กลยุทธที่ 1 จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจเกี่ยวกับโครงการ TAGP ขึ้นในปี 2542 โดยประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆซึ่งอยู่ภายใต้คณะกรรมการของ ASCOPE
กลยุทธที่ 2 จัดทำนิยามและพัฒนากฎระเบียบ ข้อบังคับ และร่างกรอบแผนงาน เกี่ยวกับการค้าก๊าซธรรมชาติของอาเซียน ซึ่งจะดำเนินการแล้วเสร็จภายในปี 2542 รวมทั้งจัดให้มีการประชุมเกี่ยวกับรายละเอียด กฎระเบียบ และกรอบการดำเนินงานของTAGP ในปี 2543/2544
กลยุทธที่ 3 เมื่อโครงการ TAGP เกิดขึ้นควรพัฒนาข้อเสนอโครงการ (Proposal) ในช่วงปี2543/2544 ตลอดจนพัฒนาแนวทางความร่วมมือระหว่าง ผู้ดำเนินการ ผู้บริหารและผู้ออกกฎหมาย เพื่อกำจัดอุปสรรคต่างๆ ที่เป็นปัญหา และควรสนับสนุนการให้ความรู้ด้านเทคนิค วิธี ทั้งในแง่การสำรวจแหล่งก๊าซธรรมชาติ และการประมาณความต้องการใช้ และการผลิตก๊าซเป็นรายสาขาทั้งระดับประเทศ และระดับภาค
กลยุทธที่ 4 สร้างสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ และ เกิดเงินทุนหมุนเวียน โดยมี
คณะกรรมการเป็นผู้กำกับดูแล และปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงในการลงทุนของผู้ลงทุนขนาดเล็ก
จัดการประชุมเจรจาระหว่างผู้ออกกฎระเบียบ ผู้ดำเนินโครงการ และภาคธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซ ในเรื่องราคาขาย และอัตราภาษี เป็นต้น http://www.eppo.go.th/vrs/VRS43-01-IIP.html
รายละเอียดเพิ่มเติมhttp://www.drpaul.de/.../0f80.../TransAsianPipeline_AP03.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น